วันอังคารที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561

บทที่ 3 โครงสร้างพื้นฐานด้านสารสนเทศ

บทที่ 3
โครงสร้างพื้นฐานด้านสารสนเทศ

โครงสร้างพื้นฐาน (Infrastructure)

          โครงสร้างพื้นฐานของเทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นกรอบงานบูรณาการภายใต้เครือข่ายดิจิตอลทำงานอยู่ 


โครงสร้างพื้นฐานนี้ประกอบด้วย 

          ศูนย์ข้อมูลเครื่องคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์จัดการฐานข้อมูลและระบบการกำกับดูแลในเทคโนโลยีสารสนเทศและบนอินเทอร์เน็ต โครงสร้างพื้นฐานเป็นฮาร์ดแวร์ทางกายภาพที่ถูกใช้ในการเชื่อมต่อระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์หลายตัวและผู้ใช้หลายคน โครงสร้างพื้นฐานประกอบด้วยสื่อการส่งผ่านรวมทั้งสายโทรศัพท์สายเคเบิลทีวีดาวเทียมและเสาอากาศ และยังมีเราท์เตอร์หลายตัวที่ใช้ถ่ายโอนข้อมูลระหว่างเทคโนโลยีการส่งผ่านทั้งหลายที่แตกต่างกันในการใช้งานบางครั้ง โครงสร้างพื้นฐานหมายถึงการเชื่อมต่อฮาร์ดแวร์กับซอฟต์แวร์ และไม่ติดต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์อื่นๆที่เชื่อมต่อกัน อย่างไรก็ตาม สำหรับผู้ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศบางคน โครงสร้างพื้นฐานถูกมองว่าเป็นทุกอย่างที่สนับสนุนการไหลและการประมวลผลของข้อมูลบริษัทโครงสร้างพื้นฐานมีบทบาทสำคัญในการพัฒนาอินเทอร์เน็ต พวกเขามีอิทธิพลว่าที่ไหนบ้างต้องมีการเชื่อมโยงที่ไหนบ้างที่ข้อมูลจะต้องถูกทำให้สามารถเข้าถึงได้ และ จำนวนข้อมูลที่สามารถดำเนินการได้และทำได้รวดเร็วได้อย่างไร


ประกอบด้วย 3 ระบบหลัก ดังนี้
1. ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งจะประกอบด้วยดังต่อไปนี้
1.1 Hardware
  • desktop computer
  • notebook computer
  • Tablet
  • Server
1.2 Software
  • ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software)
  • ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software)
1.3 People ware
  • ผู้บริหารระบบคอมพิวเตอร์ (System Manager)
  • ผู้ออกแบบและวิเคราะห์ระบบคอมพิวเตอร์ (System Analysis)
  • ผู้เขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (Programmer)
  • ผู้ดูแลและซ่อมบารุงเครื่องคอมพิวเตอร์ (Supporter)
  • ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ (User)
1.4 Data
  • ข้อมูลขั้นพื้นฐานเกี่ยวกับหน่วยงาน (วิสัยทัศน์ วัตถุประสงค์ เป้าหมาย โครงสร้างองค์กร ฯลฯ)
  • ข้อมูลเกี่ยวกับทรัพย์สิน (อาคาร ที่ดิน สิ่งปลูกสร้าง ครุภัณฑ์ ฯลฯ)
  • ข้อมูลเกี่ยวกับกฎระเบียบ กฎเกณฑ์การ-ดาเนินงาน กระบวนการปฏิบัติงาน
  • ข้อมูลเกี่ยวกับบุคลากร
  • ข้อมูลเกี่ยวกับนักเรียน (ประวัติ ผลการเรียน สุขภาพ ความสามารถ ฯลฯ)
  • ข้อมูลการดาเนินการ (ข้อมูลโครงการ หลักสูตร บัญชีการเงิน)
  • ข้อมูลภายนอกที่เกี่ยวข้องกับหน่วยงาน (ข้อมูลผู้ปกครอง โควต้า ทุนต่าง ๆ)
  • ข้อมูลภายนอกอื่น ๆ ที่เป็นประโยชน์
1.5 Documentation/Procedure
  • บริหารงานวิชาการ
  • บริหารงานกิจการนักเรียน
  • บริหารงานธุรการ การเงิน พัสดุ ครุภัณฑ์
  • บริหารงานอาคารสถานที่
  • บริหารงานชุมชน
  • บริหารงานบุคลากร
2. ระบบเครือข่าย
2.1 Lan
  • ใยแก้วนาแสง
  • เซิร์ฟเวอร์
  • ไคลเอนต์
  • เนทเวิร์ค สวิตช์ (Switch)
  • เราต์เตอร์ (Router)
  • บริดจ์ (Bridge)
2.2 Wifi
  • เราต์เตอร์ (Router)
2.3 Could
  • OneDrive
  • iCloud
  • Google Drive
  • Dropbox
  • Box
  • Copy
  • Amazon Cloud Drive
  • MediaFire
  • MiMedia
  • SpiderOak
  • SugarSync
  • Symform
  • Syncplicity
2.4 Mobile
  • 3G
  • 4G
  • video conference
  • clipvideo
  • conference

หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์

ระบบการทํางานของคอมพิวเตอร์ การทํางานของคอมพิวเตอร์ แบ่งออกเป็น 4 ส่วน ดังนี้
1. หน่วยรับข้อมูล (Input Unit)
           ทําหน้าที่ในการรับข้อมูลหรือคําสั่งจากภายนอกเข้าไปเก็บไว้ในหน่วยความจํา เพื่อเตรียมประมวลผลข้อมูลที่ต้องการ  ซึ่งอุปกรณ์ที่ใช้ในการนําข้อมูลที่ใช้กันอยู่ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันนั้น  มีอยู่หลายประเภทด้วยกันสําหรับอุปกรณ์ที่นิยมใช้ในปัจจุบันมี ดังต่อไปนี้
           - Keyboard
           - Mouse
           - Disk Drive
           - Hard Drive
           - CD-Rom
           - Magnetic Tape
           - Card Reader
           - Scanner
2. หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit)
           ทําหน้าที่ในการคํานวณและประมวลผล แบ่งออกเป็น 2 หน่วยย่อย คือ
           - หน่วยควบคุม  ทําหน้าที่ในการดูแล ควบคุมลําดับขั้นตอนของการประมวลผล และการทํางานของอุปกรณ์ต่างๆ ภายในหน่วยประมวลผลกลาง  และช่วยประสานงานระหว่างหน่วยประมวลผลกลาง กับอุปกรณ์นําเข้าข้อมูล อุปกรณ์ในการแสดงผล และหน่วยความจําสํารอง
           - หน่วยคํานวณและตรรก ทําหน้าที่ในการคํานวณและเปรียบเทียบข้อมูลต่างๆ ที่ส่งมาจากหน่วยควบคุม และหน่วยความจํา
3. หน่วยความจำ (Memory)
           ทําหน้าที่ในการเก็บข้อมูลหรือคําสั่งต่างๆ ที่รับจากภายนอกเข้ามาเก็บไว้ เพื่อประมวลผลและยังเก็บผลที่ได้จากการประมวลผลไว้เพื่อแสดงผลอีกด้วย ซึ่งแบ่งออกเป็นหน่วยความจํา เป็นหน่วยความจําที่มีอยู่ ในตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ ทําหน้าที่ในการเก็บคําสั่งหรือข้อมูล แบ่งออกเป็น
           - ROM หน่วยความจําแบบถาวร
           - RAM หน่วยความจําแบบชั่วคราว
           - หน่วยความจําสํารอง    เป็นหน่วยความจําที่อยู่นอกเครื่อง มีหน้าที่ช่วยให้หน่วยความจําหลักสามารถเก็บ ข้อมูลได้มากขึ้น
4. หน่วยแสดงผล (Output Unit)
           ทําหน้าที่ในการแสดงผลลัทธ์ที่ได้หลังจากการคํานวณและประมวลผล สําหรับอุปกรณ์ที่ ทําหน้าที่ในการแสดงผลข้อมูลที่ได้นั้นมีต่อไปนี้
           - Monitor จอภาพ
           - Printer เครื่องพิมพ์
           - Plotter เครื่องพิมพ์ที่ใช้ปากกาในการเขียนข้อมูลต่างๆ ที่ต้องการลงกระดาษ      
  
          คอมพิวเตอร์ในยุคแรกๆมีขนาดใหญ่มาก  แต่มีความสามารถไม่เท่าปัจจุบัน  ในปัจจุบันเครื่องคอมพิวเตอร์กะทัดรัดมีความสามารถสูงมาก  จากระบบที่ทำหน้าที่คำนวณทางคณิตศาสตร์อย่างเดียวมาเป็นระบบที่ทำการประมวลผลได้หลายอย่าง เช่น ประมวลผลเกี่ยวกับภาพและเสียง  หรือจากที่แยกกันทำงานสามารถทำงานร่วมกันได้  
พัฒนาการคอมพิวเตอร์ 3 ด้านคือ
        1. การพัฒนาด้านฮาร์ดแวร์
        2.การพัฒนาด้านซอฟต์แวร์
        3.การพัฒนาด้านระบบเครือข่าย

การสื่อสารข้อมูล(Data communication)  
คือการรับส่งข้อมูลระหว่างคอมพิวเตอร์ตั้งแต่สองเครื่องขึ้นไป โดยผ่านระบบสาย หรือ ระบบไร้สายก็ได้ซึ่งข้อมูลที่รับส่งจะต้องอยู่ในรูปแบบรหัสดิจิทัลหรือสามารถแปลเป็นรหัสดิจิทัลได้
องค์ประกอบของการสื่อสารข้อมูล
        1.ระบบคอมพิวเตอร์
        2.อุปกรณ์ต่อเชื่อมเพื่อการสื่อสารข้อมูล
        3.ซอฟต์แวร์สำหรับการสื่อสารข้อมูล
        4.เกณฑ์วิธี(Protocol)คือข้อกำหนดหรือระเบียบวิธีสำหรับการสื่อสารข้อมูลแบบนั้นๆ
        5.สื่อนำข้อมูล(Media)เช่นสายโทรศัพท์  เคเบิลใยแก้วนำแสง หรือคลื่นวิทยุ

เครือข่ายคอมพิวเตอร์ประเภทต่างๆ
        1.เครือข่ายบริเวณเฉพาะที่(Local Area Natwork) หรือแลน(Lan)
        2.เครือข่ายบริเวณนครหลวง(Metropolitan Area Natwork)
        3.เครือค่ายบริเวณกว้าง(Wide Area Network)หรือแวน(Wan)
        4.เครือข่ายอินเทอร์เน็ต(Internet)


ที่มา : http://commattayom6.blogspot.com/

         https://srcom608.weebly.com/

    

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

บทที่ 1 บทนำ

ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (Management Information System) Text Book ความหมาย ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ MIS : Management Inf...